Support
foodforcell.com
AIS: 087 9911816, DTAC: 086 9784166
Your shopping cart
ดูตะกร้าสินค้าของคุณ
ไม่มีสินค้าในตะกร้าของคุณ

ไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี

kulnuch@hotmail.com | 28-03-2555 | เปิดดู 7608 | ความคิดเห็น 0

ไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี

      ในระยะ 5 ปีมานี้เราได้ยินชื่อโรคไวรัสตับอักเสบ บี มากขึ้น เพราะอัตราการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ในไทยมีค่อนข้างมากคือประมาณ 5% ของประชาการทั่วไป ประมาณ 2ล้านกว่าคน

      มารู้จักไวรัสตับอักเสบในบ้านเรากัน

ที่พบบ่อย มี 3 ชนิด ไวรัสตับอักเสบ เอ บี และ ซี

ตับอักเสบ เป็นภาวะที่มีการอักเสบ เกิดการทำลายของเซลล์ตับ ทำให้ตับทำงานผิดปกติ  พบได้ทุกวัย ทั้งชายและหญิง ส่วนใหญ่เป็นแบบเฉียบพลัน ส่วนน้อยเป็นแบบเรื้อรัง แต่ในไทยกลับพบไวรัสตับอักเสบแบบเรื้อรังมากกว่า อาจมีภาวะแทรกซ้อนของโรงตับแข็ง ตับวาย มะเร็งตับ

 

      ไวรัสตับอักเสบ เอ หรือ ดีซ่านหรือไวรัสลงตับ เกิดจากการอักเสบของเซลตับ ทำให้ตับทำงานได้ไม่เต็มที่ ติดต่อทางอาหารการกิน ผู้ป่วยมีอาการไม่เรื้อรัง ลักษณะเป็นอาการแบบเฉียบพลัน มีไข้ อ่อนเพลีย  ตาเหลือง ตัวเหลือง เบื่ออาหาร ส่วนใหญ่จะหายเอง ไม่ค่อยน่ากลัว เว้นถ้าเป็นผู้สูงอายุก็น่ากลัวได้

 

      ไวรัสตับอักเสบซี เป็นRNAไวรัส ระยะฟักตัวของเชื้อ ประมาณ 15-160 วัน ติดต่อทางเลือดและน้ำเหลือง มีอาการตับอักเสบเรื้อรังมากกว่าชนิดอื่นประมาณ 80-90 %

ไวรัสตับอักเสบซีติดต่อทางเลือดเป็นส่วนใหญ่ ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซี มีเกล็ดเลือดต่ำ ปวดเมื่อยไม่สบายตัว จะไม่ค่อยตัวเหลืองตาเหลือง  แต่จะเป็นตับแข็ง ตับเป็นตัวสร้างสารแข็งตัว สารแข็งตัวจะเสียไป

การรักษาไวรัสตับอักเสบซีต้องใช้ทั้งยากินและยาฉีด ยามีราคาแพง

 

      ไวรัสตับอักเสบบี โรคฮิตติดหูเกิดจากเชื้อไวรัส บี  เป็นเชื้อไวรัสที่อันตรายและรุนแรงมากที่สุด เพราะเชื้อไวรัสจะซ่อนอยู่ในตัวคน ก่อให้เกิดโรคเรื้อรัง และเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งตับ ตับอักเสบเรื้อรัง หรือตับแข็งได้

       ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เป็นการติดเชื้อโดยไม่รู้ตัว

1. การติดเชื้อทางเลือด ตั้งแต่ปี 2540  โอกาสการติดเชื้อทางเลือดน้อยลง

2. การสัก การเจาะตามร่างกายด้วยอุปกรณ์ที่ไม่ได้ผ่านการฆ่าเชื้ออย่างเพียงพอ

3. ใช้เข็มฉีดยาเสพติดเข้าเส้นเข็มเดียวกัน

4. สำสอนทางเพศมีคู่นอนหลายคน

5. มารดามีประวัติเป็นไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสตับอักเสบ ซี

 

                ไวรัสตับอักเสบ บี แบ่งเป็น 2 กลุ่มคนไข้

1. กลุ่มอาการเฉียบพลัน มีอาการคลื่นไส้ อาเจียร ตัวเหลือง ตาเหลือง  ตับมีหน้าที่ขับของเสีย เมื่อตับขับของเสียไม่ได้ บางรายเกิดอาการตับวาย ของเสียคลั่งอาจทำให้เกิดอาการสมองบวมได้ หนึ่งในร้อยอาจตับวายและเสียชีวิตได้ อย่างไรก็ตามไวรัสตับอักเสบ บีรักษาให้หายขาดได้

2. กลุ่มอาการแบบเรื้อรัง คือได้รับเชื้อมาตั้งแต่เด็ก จากแม่สู่ลูกประมาณ 70-75%  ติดเชื้อตอนโตประมาณ 5% เชื้อซ่อนตัวอยู่มีการฟักตัวและแข็งแรงมากขึ้น เกิดการอักเสบเรื้อรัง การรักษาให้หายขาดค่อนข้างน้อย ตรวจโรคโดยทั่วไปใช้วิธีเจาะเลือด ส่วนน้อยใช้วิธีเจาะตับ  

      สังเกตอาการ

ช่วงแรกไม่มีอาการ สังเกตุกลุ่มซึมเศร้า ไม่กระปรี้กระเปร่า เบื่อง่าย มีผื่นจ้ำเป็นวงคล้ายไยแมงมุม ฝ่ามือเป็นจุดแดง  แดงไม่สม่ำเสมอ กลางผ่ามือขาวคล้ายแพ้อาหาร

เคยสัก ฉีดยาเข้าเส้น มีพี่น้องตัวเหลืองเท้าเหลือง มีญาติเป็นมะเร็ง ขอให้แพทย์ตรวจเลย  เพราะอาจไมีมีอาการตับอักเสบแสดงให้เห็น

       ระยะเวลาก่อนแสดงอาการ

ถ้าไม่มีปัจจัยเร่งเพิ่มเช่น เป็ฯมะเร็ง เป็นเอดส์ ติดเชื้อ HIV ดื่มแอลกอฮอลล์ ระยะเวลาประมาณ 20ปี  ระยะ 5-10 ปีเริ่มเป็นตับอักเสบแล้ว ตามมาด้วยตับแข็ง และมะเร็งตับ

ไวรัสตับอักเสบ บี มีโอกาสที่จะทำลายตัวเอง ทำลายตัวเราด้วย ทำให้ตับพังหมด เราอาจไม่ได้เป็นมะเร็งตับ แต่ตับวายได้

 รักษาด้วยวิธีกินยา หรือฉีดยา ยามีราคาแพง

ไวรัสเป็นสิ่งแปลกปลอมที่ร่างกายไม่ต้องการ ร่างกายเรามีวิธีจัดการค่ะ

Natural Killer Cell หรือที่เรียกว่า NK Cell  อยู่กับเรามาตั้งแต่เกิด

สามารถตรวจจับสิ่งแปลกปลอมและเข้าทำลายสิ่งแปลกปลอมนั้นด้วยตัวเองได้โดยไม่ต้องอาศัย antibody ซึ่งแตกต่างจากเซลล์ภูมิคุ้มกันอื่นๆ

เป็นเซลล์เพชฌฆาต เพราะ NK Cell  1 เซลล์สามารถฆ่าไวรัสตับอักเสบ บีได้เป็นพันตัว

แต่ที่ยังป่วยอยู่ เพราะจำนวนNK Cellที่มีอยู่อ่อนแอและน้อยเกินไป เพียงเราสร้างNK Cellให้มากขึ้น NK Cellก็จะจัดการฆ่าไวรัสตับอักเสบ บีได้เอง

        สร้าง NK Cell ให้มากขึ้นได้อย่างไร

ร่างกายเราเจริญและแข็งแกร่งได้ด้วยอาหาร การสร้างเซลล์ใหม่ต้องใช้อาหาร แต่อาหารที่เรารับประทานตามปกติไม่สามารถเข้าถึงแหล่งผลิตเซลล์ใหม่ที่อยู่ภายในเซลล์ได้เนื่องจากร่างกายถดถอยการย่อยอาหารไม่สมบูรณ์ทำให้โมเลกุลอาหารไม่เล็กพอที่จะเข้าสู่กระบวนการสร้างเซลล์ใหม่ได้

         

 

 

 

 

 

ความคิดเห็น

วันที่: Mon Apr 29 12:22:47 ICT 2024

แสดงความคิดเห็น
All Comments: 0 Pages: 1/0